1. เหตุใดการตัดสินใจของผู้บริหารจึงมีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์การ
ตอบ. ผู้บริหารมีหน้าที่และความรบผิดชอบต่อการดำเนินทิศทางในอนาคตขององค์การ ผ่านการตัดสินใจในปัญหาหรือโอกาสำคัญทางธุรกิจซึ่งการตัดสินใจของผู้บริหารโดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง จะมีผลไม่เพียงพอต่อการดำเนินการงานในระยะสั้น แต่ครอบคลุมถึงความอยู่รอด ความมั่นคง และความเจริญเติบโตขององค์การ
2. สารสนเทศสำหรับผู้บริหารมีคุณลักษณะสำคัญที่แตกต่างจากสารสนเทศสำหรับบุคคลอื่นในองค์การอย่างไร
ตอบ. 1. ไม่มีโครงสร้าง
2. มีความไม่แน่นอ
3. ให้ความสำคัญกับสถานการณ์ในอนาคต
4. แหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ
5. ไม่แสดงรายละเอียด
3. ปกติผู้บริหารได้รับข้อมูลในการตัดสินใจแหล่งใดบ้าง ตลอดจนข้อมูลจากแต่ละแหล่งมีความสำคัญต่อการตัดสินใจของผู้บริหารอย่างไร
ตอบ. ผู้บริหารจะได้รับแหล่งข้อมูลจาก 3 แหล่ง
- ข้อมูลที่ได้รับจากกระบวนการดำเนินงาน (Transacticon Proceing Data ) เป็นข้อมูลที่แสดงผลการปฏิบัติงานขององค์การ หน่วยงาน หรือระบบที่สนใจ ข้อมูลจากการดำเนินงานช่วยสร้างความเข้าใจและสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานที่ผ่านมาในอดีต
- ข้อมูลจากภายในองค์การ (Internal Data) เป็นข้อมูลที่จัดทำขึ้นภายในองค์การ เพื่อแสดงให้เห็นถึงเป้าหมายหรือผลการดำเนินงานของกิจกรรม และโครงสร้างการด้านต่าง ๆ ขององค์การ
- ข้อมูลจากภายนอกองค์การ (External Data) ปัจจัยภายนอกมีผลกระทบต่อองค์การ โดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบันที่การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวิทยาการในประเทศหนึ่งจะมีผลเกี่ยวเนื่องไปทั่วโลก
4. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีต่อศักยภาพในการแข่งขันขององค์การในยุคปัจจุบัน
ตอบ. ความรวดเร็วในการเข้าถึงและแพร่กระจายข้อมูลข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ตลอดจนการกระจายโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลของคนหมู่มาก ส่งผลให้ผู้บริหารองค์การทั้งภาครัฐบาลและภาคธุรกิจ ต้องสามารถทำการตัดสินใจในทางเลือกของการแก้ปัญหาทางและโอกาสอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาประยุกต์ให้การดำเนินงานและปัญหาทางธุรกิจที่ซับซ้อนให้มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรม ซึ่งจะช่วยลดความไม่แน่นอนและความผิดพลาดในการตัดสินใจลง แต่ความสัมพันธ์ระหว่างระดับผู้บริหารระดับสูงกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ยังมิได้เป็นความสัมพันธ์เชิงบวกทั้งด้านความเข้าใจ ทักษะและทัศนคติที่มีต่อเทคโนโลยีสารสนเท่านั้น
5. จงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการสร้างความเข้าใจและส่งเสริมทักษะทางสารสนเทศให้แก่ผู้บริหารระดับสูง
ตอบ ความรวดเร็วในการเข้าถึงและแพร่กระจายข้อมูลข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีที่ หนึ่งตลอดจนการกระจายโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลขอคนหมู่มาก ส่งผลให้ผู้บริการองค์การทั้งภาครัฐบาลและภาคธุรกิจต้องสามารถทำการตัดสินใจ ทางเลือกของการแก้ปัญหาและโอกาสอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาประยุกต์ให้การดำเนินงานและปัญหาทางธุรกิจที่ซับ ซ้อนให้มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรมซึ่งจะช่วยลดความไม่แน่นอนและความผิดพลาด ในการตัดสินใจลง แต่ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับเทคโนโลยีสารสนเทศยังมิได้เป็น ความสัมพันธ์เชิงบวกทั้งด้านความเข้าใจ ทักษะ และทัศนคติที่มีต่อเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อการส่งเสริมการนำระบบสารสนเทศมาช่วยงานทางธุรกิจด้วย
6. จงอธิบายความหมายและคุณลักษณะเฉพาะทางของ EIS
ตอบ. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ทักษะ และความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ลักษณะเฉพาะของ EIS
ลักษณะ
|
รายละเอียด
|
- ความถี่ในการใช้งาน
|
- ค่อนข้างบ่อยถึงบ่อยมาก
|
- ทักษะทางคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
|
- ไม่จะเป็นต้องมีทักษะสูง เนื่องจากผู้ใช้ สามารถเรียนรู้และใช้งานได้ง่าย
|
- ความยืดหยุ่น
|
- สูงและสามารถปรับปรุงรูปแบบให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหารได้
|
- การใช้งาน
|
- การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ การแก้ไขวิกฤต การตรวจสอบ และการควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจ
|
- การตัดสินใจ
|
- มีข้อมูลไม่ชัดเจน มีความไม่แน่นอนสูง และไม่มีโครงสร้าง
|
- แหล่งที่มาของข้อมูล
|
- ต้องการข้อมูลทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ
|
- การแสดงข้อมูล
|
- มีการนำเสนอข้อมูลในหลายรูปแบบ
|
- การตอบสนอง
|
- ชัดเจน รวดเร็ว และตรงตามความต้องการ
|
7. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง EIS , DSS และ MIS
ตอบ. EIS และ DSS ต่างถูกพัฒนาขึ้นเพื่อการจัดการกับข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้ใช้ แต่ทั้ง 2 ระบบจะมีความแตกต่างกันในระดับของานใช้งาน การนำเสนอข้อมูล และความยากง่ายในการใช้ โดยสามารถกล่าวได้ว่า EIS เป็น DSS ที่ถูกพัฒนาขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อตอบสนองความต้องกการด้านสารสนเทศในการตัดสินใจแก้ปัญหา และการดำเนินงานของผู้บริหารที่ไม่ต้องการข้อมูลที่ละเอียดและมีความถูกต้องสมบูรณ์ แต่ต้องสร้างความเข้าใจและให้ภาพรวมของระบบหรือปัญหาที่ผู้บริหารสนใจ โดย EIS อาจได้รัยการออกแบบและพัฒนาจากฐานข้อมูลของ DSS เพื่อให้ผู้บริหารสามารถเรียนรู้ ทำความเข้าใจ และช้างานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนคณะที่ปรึกษาและผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องใน DSS ` ถ้าผู้บริหารเกิดความต้องการข้อมูลมากกว่าที่ EIS ถูกพัฒนาขึ้น
8. คุณสมบัติสำคัญของ EIS มีอะไรบ้าง
ตอบ. 1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์
2. เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ
3. มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง
4. ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน
5. พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร
9. ข้อดีและข้อจำกัดในการนำ EIS มาใช้งานในองค์การมีอะไรบ้าง
ตอบ.
10. ท่านคิดว่าความเห็นมีการประยุกต์ EIS ในองค์กรในประเทศหรือไม่ จงอธิบาย
ตอบ. ปัจจุบันพัฒนาการและการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในองค์การ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ซึ่งก่อให้เกิดความท้าทายแก่ผู้บริหารในอนาคตให้นำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ธุรกิจ โดยผู้บริหารต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และวิสัยทัศน์ต่อแนวโน้มของเทคโนโลยี เพื่อให้สามารถตัดสินใจนำเทคโนโลยีมาใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบ. EIS และ DSS ต่างถูกพัฒนาขึ้นเพื่อการจัดการกับข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้ใช้ แต่ทั้ง 2 ระบบจะมีความแตกต่างกันในระดับของานใช้งาน การนำเสนอข้อมูล และความยากง่ายในการใช้ โดยสามารถกล่าวได้ว่า EIS เป็น DSS ที่ถูกพัฒนาขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อตอบสนองความต้องกการด้านสารสนเทศในการตัดสินใจแก้ปัญหา และการดำเนินงานของผู้บริหารที่ไม่ต้องการข้อมูลที่ละเอียดและมีความถูกต้องสมบูรณ์ แต่ต้องสร้างความเข้าใจและให้ภาพรวมของระบบหรือปัญหาที่ผู้บริหารสนใจ โดย EIS อาจได้รัยการออกแบบและพัฒนาจากฐานข้อมูลของ DSS เพื่อให้ผู้บริหารสามารถเรียนรู้ ทำความเข้าใจ และช้างานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนคณะที่ปรึกษาและผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องใน DSS ` ถ้าผู้บริหารเกิดความต้องการข้อมูลมากกว่าที่ EIS ถูกพัฒนาขึ้น
8. คุณสมบัติสำคัญของ EIS มีอะไรบ้าง
ตอบ. 1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์
2. เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ
3. มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง
4. ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน
5. พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร
9. ข้อดีและข้อจำกัดในการนำ EIS มาใช้งานในองค์การมีอะไรบ้าง
ตอบ.
ข้อดี
|
ข้อจำกัด
|
-ง่าต่อการใช้งานของผู้ใช้ โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง
|
-มีข้อจำกัดในการใช้งาน เนื่องจาก EIS ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง
|
-ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
|
-ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร
|
-ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น
|
-ยากต่อการประเมินประโยชน์ และผลตอบแทนที่องค์กรไดรับ
|
-ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำเสนออย่างชัดเจน
|
-ซับซ้อนและยากต่อการจัดการข้อมูล
|
-สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
|
-ปัญหาด้านการรักษาความลับของข้อมูล
|
10. ท่านคิดว่าความเห็นมีการประยุกต์ EIS ในองค์กรในประเทศหรือไม่ จงอธิบาย
ตอบ. ปัจจุบันพัฒนาการและการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในองค์การ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ซึ่งก่อให้เกิดความท้าทายแก่ผู้บริหารในอนาคตให้นำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ธุรกิจ โดยผู้บริหารต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และวิสัยทัศน์ต่อแนวโน้มของเทคโนโลยี เพื่อให้สามารถตัดสินใจนำเทคโนโลยีมาใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น